วันพุธ, 27 พฤศจิกายน 2567

ค้นหา: คณะเกษตรศาสตร์-มหาวิทยา

มข. จับมือ ซีพี และสำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) ขับเคลื่อนนวัตกรรมการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ช่วยลดต้นทุน สร้างรายได้เกษตรกร ตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน

13 ก.ย. 2024
(มีคลิป)เมื่อเวลา 10.00 น.วันที่ 13 ก.ย.2567 ที่ ศูนย์ประชุมอเนกประสงค์กาญจนาภิเษก มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น กับ บริษัท ซีพี แอ็กซ์ตร้า จ ากัด (มหาชน) และ สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) ร่วมลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ การขับเคลื่อนนวัตกรรมการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) โครงการกินได้ไม่ทิ้งกัน (Zero Food Waste) สู่แ

คณะเกษตรศาสตร์ มข.เปิดร้านแอคมาร์ท (AG mart) และตลาดแลนด์ (Land market)เปิดพื้นที่การจำหน่ายผลผลิตทางการเกษตรต่อยอด ส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษาสู่ด้านเกษตรนวัตกรรมใหม่

29 ส.ค. 2024
(มีคลิป)เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2567เวลา 18.00น.ผ่านมา ณ AG Mart อุทยานเทคโนโลยีเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นได้มีพิธีเปิดดร้านแอคมาร์ท (AG mart) และตลาดแลนด์ (Land market) ของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ชาญชัย พานทองวิริยะกุลอธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น เดินทางมาเป็นประธานเปิดงาน มี รศ.ดร.ดรุณีโชติษฐยางกูรคณบดีคณะเกษตรศาสตร์ มข. กล่าวรายงาน

คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จัดประชุมวิชาการพืชวงศ์ถั่วแห่งชาติครั้งที่ 8 ภายใต้แนวคิด “นวัตกรรมวิจัย พืชวงศ์ถั่วไทย เพื่อความมั่นคงทางอาหาร”

26 ก.ค. 2023
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จัดประชุมวิชาการพืชวงศ์ถั่วแห่งชาติครั้งที่ 8 ภายใต้แนวคิด “นวัตกรรมวิจัย พืชวงศ์ถั่วไทย เพื่อความมั่นคงทางอาหาร”พร้อมมอบโล่ประกาศเกียรติคุณบุคคลผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพืชวงศ์ถั่วประเทศไทย เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2566 เวลา 09.00น.ที่ผ่านมา ณ ห้องประชุม 7011 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดย สมาคมปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์พืชแห่งประเทศไทย ได้ร่วมกับ มหาวิทย

มข. จัดอบรม “การฟอกกาวและย้อมสีเส้นไหม” จากวัตถุดิบธรรมชาติ หวังขับเคลื่อนชุมชนฐานรากหลังโควิด ด้วยเศรษฐกิจหมุนเวียน

06 ก.ย. 2022
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จัดอบรมเชิงปฎิบัติ เกี่ยวกับ “การฟอกกาวและย้อมสีเส้นไหม” โดยการย้อมสีจากวัตถุดิบตามธรรมชาติภายในชุมชน ภายใต้การดำเนินโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจหมุนเวียน BCG (U2T for BCG) โดยมี รศ.ดร. ภาณุพล หงษ์ภักดี และ ผศ.ดร ศุภัชญา นามพิลา อาจารย์จากสาขาวิชาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นผู้รับผิดชอบดูแลโครงการในพื้นที่ตำบลป่ามะนา